KOGEI-net

【Mentee web story】Nitcharee Peneakchanasak (Thun)

Nitcharee Peneakchanasak (Thun) (Mentee 2022-2023, Thailand)

Nitcharee Peneakchanasak acquired her disability at the age of 14, but she maintains her positiveness and active lifestyle.  She  graduated with a bachelor’s degree in Journalism and Mass-communication from Thammasat University. 

She is passionate about motivating people to live a positive life and has engaged herself in delivering several speeches and motivational talks at the national level. Currently she is pursuing her master’s degree in Industrial and Organizational Psychology at Chulalongkorn University. 

She currently works as communicator and campaigner for people with disabilities in Thailand and continues her goal to motivate and inspire people to live a positive life, and to advocate for inclusive workplace for all. 


Tell us what you are working on, or what are you committed to?
ลองเล่าให้ฟังหน่อยว่า คุณกำลังทำโครงการหรือโปรเจคอะไรอยู่บ้าง และมีอะไรที่คุณต้องดำเนินการให้สำเร็จ
何に取り組んでいるのか教えてください

I am Nitcharee Peneakchanasak (Thun) from Thailand. I am a physically disabled person. I am currently pursuing my master’s degree in Industrial and Organizational Psychology at Chulalongkorn University, where I carried out a research project examining the experience of employment for people with disabilities. Since I was in an accident and became a disabled person, I have learned from my personal experiences and my friends who have similar experience around me. These experiences continue to inspire my work on improving people’s employment experience. I do so by helping people identify their skill sets and develop their potentials, as well as campaigning for more job opportunities for people with disabilities in Thailand. At the end of this year (2022), I will be graduating with a master’s degree, and I intend to pursue PhD study abroad. 

I am hoping to gain new knowledge and potential to help others with disabilities in Thailand. 

At the moment, I’m still searching for a suitable university and supervisor for PhD and considering the topic for the doctoral study. The reason I wish to gain doctoral training is to develop myself further to improve the quality of life for people with disabilities, be that in education, employment or another area.

To date, I’ve worked with others on shared projects related to people with disabilities as a motivational speaker and a communicator between public and private sectors. I am looking forward to creating and managing my own projects after completing my studies. I will bring these experiences and the knowledge I’ve gathered so far to develop projects that support people with disabilities in the future.

ฉันชื่อ ณิชชารีย์ เป็นเอกชนะศักดิ์ (ธันย์) จากประเทศไทย ฉันเป็นผู้พิการ ปัจจุบันฉันกำลังเรียนทางด้านจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์กร ในระดับปริญญาโท ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉันได้ทำงานวิจัยเกี่ยวกับประสบการณ์ของผู้พิการในการจ้างงาน ตั้งแต่ฉันประสบอุบัติเหตุและต้องกลายเป็นผู้พิการ ฉันได้เรียนรู้มากมายจากประสบการณ์ของตัวฉันเองและเพื่อนผู้พิการของฉันที่มีประสบการณ์ที่คล้ายคลึงกัน ประสบการณ์เหล่านี้ไ้ด้สร้างแรงบันดาลใจของฉันในการที่จะพัฒนาให้ผู้พิการมีประสบการณ์ที่ดีขึ้นในการได้รับการจ้างงาน สิ่งที่ฉันได้ทำก็คือการช่วยผู้พิการในการค้นหาทักษะของตนเอง พัฒนาศักยภาพและจัดกิจกรรมที่จะเพิ่มโอกาสในการจ้างงานในผู้พิกรในประเทศไทย ในช่วงสิ้นปีนี้ (2022) ฉันจะจบการศึกษาในระดับปริญญาโท และฉันมีความต้งใจที่จะเรียนต่อในระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ

ฉันหวังว่าจะได้ความรู้ใหม่ๆ และเพิ่มศักยภาพในการช่วยเหลือผู้พิการคนอื่นๆในประเทศไทย

ตอนนี้ฉันกำลังมองหามหาวิทยาลัยและอาจารย์ที่ปรึกษา รวมทั้งหัวข้อวิจัยที่เหมาะสมสำหรับปริญญาเอกของฉัน เหตุผลที่ฉันต้องการเรียนในระดับปริญญาเอกคือการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ ไม่ว่าจะเป็นในด้านการศึกษา การจ้างงาน หรือด้านอื่นๆ

จนถึงวันนี้ ฉันได้ทำงานร่วมกับคนอื่นๆในโครงการที่เกี่ยวข้องกับคนพิการ ฉันได้เป็นวิทยากรที่สร้างแรงบันดาลใจและเป็นผู้สื่อสารระหว่างภาครัฐและเอกชน ฉันมีความต้องการที่จะดำเนินโครงการของตัวเองหลังจากสำเร็จการศึกษา ฉันจะนำประสบการณ์เหล่านี้และความรู้ที่ฉันได้รวบรวมมาเพื่อพัฒนาโครงการที่สนับสนุนคนพิการในอนาคต

私はタイから来たニッチャリー・ペネアカチャナサック(トゥン)です。私は身体障がい者です。現在、チュラロンコン大学で産業・組織心理学の修士課程に在籍し、障がい者の雇用経験を検証する研究プロジェクトを遂行しています。私は事故に遭い、障害者となって以来、自分の個人的な経験や、周囲の同じような経験を持つ友人たちから学んできました。これらの経験は、人々の雇用経験を向上させるという私の仕事にインスピレーションを与え続けています。また、タイで障がい者の雇用機会を増やすためのキャンペーンも行っています。今年(2022年)末には修士号を取得し、博士課程への留学を目指す予定です。

新しい知識と可能性を得て、タイで障がい者の方々のお役に立ちたいと思っています。

現在は、博士課程に適した大学や指導教官を探し、博士課程の研究テーマを検討しているところです。私が博士課程を希望する理由は、教育、雇用、あるいはその他の分野において、障害者の生活の質を向上させるために自分自身をさらに成長させるためです。

これまで私は、障がい者関連の共同プロジェクトで、モチベーションスピーカーや官民間のコミュニケーターとして、他の人たちと一緒に仕事をしてきました。修了後は、自分自身のプロジェクトを立ち上げ、運営することを楽しみにしています。これらの経験やこれまでに得た知識を生かし、将来的には障がい者支援のプロジェクトを展開していきたいと考えています。

What made you join the mentoring programme?
อะไรทำให้คุณอยากมาร่วมโครงการของเรา
なぜこのプログラムに参加したきっかけはなんですか?

I was searching to identify what I’m interested in studying next, overseas. I think this program was exactly what I needed as it gave me opportunities to speak with experts in my fields and allowed me to reflect and find answers. I’ve also learned new things from other participants. Most importantly, this programmes is supporting me to become a young leader, which is my dream and what I would like to see myself doing in the future.

ฉันกำลังค้นหาสิ่งที่ฉันสนใจเพื่อจะเรียนต่อไปในต่างประเทศ ฉันคิดว่าโปรแกรมนี้เป็นสิ่งที่ฉันต้องการ เพราะโปรแกรมนี้ได้เปิดโอกาสให้ฉันได้พูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาของฉัน และทำให้ฉันได้ไตร่ตรองและค้นหาคำตอบ ฉันยังได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ จากผู้เข้าร่วมคนอื่นๆ สิ่งสำคัญที่สุดคือโปรแกรมนี้สนับสนุนให้ฉันเป็นผู้นำรุ่นเยาว์ ซึ่งเป็นความฝันของฉันและทำให้ฉันได้เห็นสิ่งที่ฉันอยากทำในอนาคต

私は、海外で次に何を学びたいかを明確にするために探していました。このプログラムでは、各分野の専門家と話す機会があり、自分自身を振り返り、答えを見つけることができたので、まさに私が必要としていたものだと思います。また、他の参加者から新しいことを学ぶこともできました。何より、このプログラムは、私の夢であり、将来自分がやってみたいことである、若いリーダーになるためのサポートをしてくれているのです。

What are you hoping to achieve, or unlearn? Have you identified any specific challenges in your private life or professional work in your mentoring sessions?
คุณคาดหวังว่าจะได้รับอะไร หรือ แก้ไขความเข้าใจผิดอะไรบางอย่าง คุณได้ค้นพบความท้าทายบางอย่างในชีวิตส่วนตัว หรือในชีวิตการทำงาน หรือไม่ในการเข้าร่วมการให้คำปรึกษากับเหล่าผู้เชี่ยวชาญของเรา
何を達成したり学んだりしたいですか?何かと特定の課題を私生活や仕事の中から見つけましたか?

I am looking to identify what I’d like to study next, to help me develop what I would like to do professionally in the future. I am also looking for new opportunities by connecting with other mentees and speaking to mentors’ about their own networks of experts, especially those who may have experience in disabilities projects. Since joining the programme, I have resolved some worries of myself by knowing that life’s challenges don’t always have to be great projects about helping others, but rather I can also find time to invest on developing my own potential and then pay it forward to others in the future.

ฉันกำลังมองหาสิ่งที่ฉันต้องการสำหรับการเรียนต่อ เพื่อช่วยฉันพัฒนาศักยภาพของฉันและสิ่งที่ฉันต้องการจะทำในอนาคต ฉันยังมองหาโอกาสใหม่ๆ โดยการติดต่อกับผู้เชี่ยวชาญคนอื่นๆในโครงการ และพูดคุยหรือเชื่อมโยงเครือข่ายของพวกเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อาจมีประสบการณ์ในโครงการสำหรับผู้พิการ ตั้งแต่เข้าร่วมโปรแกรม ฉันได้ลดความกังวลบางอย่างในตัวเอง ด้วยการรู้ว่าความท้าทายในชีวิตไม่จำเป็นต้องเป็นโครงการที่ยิ่งใหญ่เพื่อจะช่วยเหลือผู้อื่นเสมอไป แต่ฉันสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองและส่งต่อให้ผู้อื่นได้ในอนาคต 

私は、将来プロとしてやってみたいことを発展させるために、次に何を勉強したいかを見極めたいと考えています。また、他のメンティーとつながったり、メンターが持っている専門家のネットワーク、特に障がい者プロジェクトの経験がある人について話を聞いたりして、新しい機会を探しています。このプログラムに参加してから、人生の挑戦は必ずしも他人を助けるための素晴らしいプロジェクトである必要はなく、むしろ自分自身の可能性を伸ばすために投資する時間を見つけ、将来的に他の人にそれを還元することができることを知り、自分の悩みを解決することができたのです。

What does it feel like meeting a mentor and/or a fellow mentee from a different country and culture? 
รู้สึกเป็นอย่างไรเมื่อพบกับผู้เชี่ยวชาญของเราและเหล่าผู้เข้ารับการให้คำปรึกษาที่มาจากต่างวัฒนธรรมต่างภาษาและเป็นคนต่างชาติ
異なる国や文化のメンターやメンティーの仲間に会うことはどのように感じますか?

It’s been a great opportunity to be part of this program. I’ve spoken and exchanged ideas with mentors and other mentees. I saw a different perspective to my own challenges and gained new ideas from them. Being in the programme made me feel that I was constantly improving myself, because each mentoring session built on the previous ones. So I feel like we always followed and developed from what was discussed before. Speaking with mentors and fellow mentees was really helpful in that they help me identify my interest areas and help me find to universities and courses that I didn’t know about before. I feel like the mentors and other participants have helped me find a path, which will help make my dream of helping other people with disabilities come true in the future.

เป็นโอกาสที่ดีที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมนี้ ฉันได้พูดและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ให้คำปรึกษาของฉันและผู้ให้คำปรึกษาคนอื่นๆ ฉันเห็นมุมมองที่แตกต่างและท้าทายของตัวเองและได้รับแนวคิดใหม่ ๆ จากพวกเขา การอยู่ในโปรแกรมนี้ทำให้ฉันรู้สึกว่าตัวเองกำลังพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ เพราะการให้คำปรึกษาแต่ละครั้งต่อเนื่องกัน ฉันรู้สึกว่าได้พัฒนาจากที่ได้พูดคุยปรึกษากันมาตลอด การพูดคุยกับผู้ให้ปรึกษาและเพื่อนผู้รับคำปรึกษามีประโยชน์มาก ในการที่พวกเขาช่วยให้ฉันสามารถค้นหาความสนใจของฉันและช่วยให้ฉันค้นหามหาวิทยาลัยและหลักสูตรที่ฉันไม่เคยรู้มาก่อน ฉันรู้สึกว่าผู้ให้ปรึกษาและผู้เข้าร่วมคนอื่นๆ ได้ช่วยฉันค้นหาเส้นทางของชีวิต ซึ่งจะช่วยให้ความฝันของฉันในการช่วยเหลือคนพิการคนอื่นๆ เป็นจริงในอนาคต

このプログラムに参加できたことは、とても良い機会でした。メンターや他のメンティーと話し、意見交換をしました。自分の課題とは異なる視点が見え、彼らから新しいアイデアを得ることができました。このプログラムに参加していると、各メンタリングセッションが前のセッションの上に成り立っているので、常に自分を高めているように感じられました。というのも、メンタリングセッションは毎回、前回のセッションの上に成り立っているからです。ですから、私たちは常に、前に議論されたことに従って、それを発展させてきたように思います。メンターやメンティー仲間と話すことで、自分の興味のある分野を明確にしたり、今まで知らなかった大学やコースを探す手助けをしてくれたり、本当に助かりました。メンターや他の参加者のおかげで、将来、他の障がい者を助けたいという私の夢を実現するための道を見つけることができたと感じています。

Can you share a tip with anyone looking for extra resources or support, i.e. how to reach out?
มีแหล่งข้อมูลอะไรอยากจะแบ่งปันกับผู้อื่นหรือไม่ และข้อมูลเหล่านั้นเข้าถึงได้จากทางใด
何か新しいリソースやサポートを求めている人へ助言はありますか?

I recommend the following the “smart goal” principles which you can find here: https://www.urbinner.com/post/smart-goal-technique

ฉันขอแนะนำทฤษฎี “smart goal” ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ทาง https://www.urbinner.com/post/smart-goal-technique

私は、下記のURLで見つけられる「スマートゴール」の原則に従うことをお勧めします。
https://www.urbinner.com/post/smart-goal-technique